ขอแสดงความยินดีคณะวิจัยที่ตีพิมพ์ใน TCI กลุ่ม 1

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ขอแสดงความยินดี กับนางสาวนางสาวจรรยพร แก้วยอด นางสาวอภิชญา แซ่จี้ นักศึกษาหลักสูตรการประกันภัยและการจัดการความเสี่ยง และ ผศ.ดร.พงษ์พิช เพชรสกุลวงศ์ และอาจารย์วิสุทธิ์ เหมหมัน อาจารย์หลักสูตรการประกันภัยและการจัดการความเสี่ยงที่ตีพิมพ์บทความวิจัยเรื่อง ปัจจัยส่วนบุคคลและการรับรู้การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่มีผลต่อความต้องการซื้อประกันภัยโรคอุบัติใหม่ที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัยเผยแพร่ในวารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 16 ฉบับที่ 4 ที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1 ------------------------------------------------- ข้อมูลงานวิจัยสามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/ecbatsu/article/view/266126?fbclid=IwY2xjawGZT8pleHRuA2FlbQIxMAABHfmhe7azM20F3MaiVFe4wHTPF2jWQSCdvKxMaDnj0kgN4DaLK9m40esJUw_aem_-nHkkxe6E0xj9pbYDJcxyw

Continue Readingขอแสดงความยินดีคณะวิจัยที่ตีพิมพ์ใน TCI กลุ่ม 1

ขอแสดงความยินดีคณะนักวิจัยที่ตีพิมพ์ใน TCI กลุ่ม 1

📣 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ขอแสดงความยินดี กับนางสาวปาณิตา คงแก้ว นักศึกษาหลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต และ ผศ.ดร.ดลินา อมรเหมานนท์ และผศ.ดร.กฤติยา ดวงมณี อาจารย์ที่ปรึกษา หลักสูตรการเงินประกันภัยและการจัดการความเสี่ยง✅ที่ตีพิมพ์บทความวิจัยเรื่อง ที่ตีพิมพ์บทความวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริจาคเงินของคนไทย : ณ ขณะพบการขอบริจาคเงินกับการตั้งใจวางแผนบริจาค ✅ที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัยเผยแพร่ในวารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 ที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1 📌 ข้อมูลงานวิจัยสามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ "https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JSSRA/article/view/268320

Continue Readingขอแสดงความยินดีคณะนักวิจัยที่ตีพิมพ์ใน TCI กลุ่ม 1

ขอแสดงความยินดีอาจารย์ที่ผลงานตีพิมพ์ใน Scopus Q4

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ขอแสดงความยินดี กับ ดร.สุดาทิพย์ ประพันธ์ อาจารย์ประจำหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ที่ตีพิมพ์บทความวิจัยเรื่อง FROM EFL TO EMI : A CASE OF THAI INTERNATIONAL STUDENTS’ L2 LEARNING MOTIVATION AND ENGAGEMENT IN CHINA LLT Journal: Journal on Language and Language Teaching Vol.27, No.2, October 2024, pp.948-971 SCOPUS Q4 เป็นอาจารย์…

Continue Readingขอแสดงความยินดีอาจารย์ที่ผลงานตีพิมพ์ใน Scopus Q4

ขอแสดงความยินดีอาจารย์ที่ผลงานตีพิมพ์ใน TCI1

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ขอแสดงความยินดี กับ ผศ.ดร.วิสุทธิณี ธานีรัตน์ อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการรัฐกิจ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรังที่ตีพิมพ์บทความวิจัยเรื่อง ประสิทธิภาพการให้บริการประชาชนของสำนักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัดตรัง (Efficiency of Public Services of Trang Provincil Land Reform Office)เผยแพร่ในวารสารวิชาการวิทยลัยบริหารศาสตร์ เล่มที่ 7 ฉบับที่ 3 เดือน ก.ค.-ก.ย. เลขหน้า 136-153ที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1 ------------------------------------------------- ข้อมูลงานวิจัยสามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://so05.tci-thaijo.org/index.php/SASAJ/article/view/269658/183764?fbclid=IwY2xjawF0We1leHRuA2FlbQIxMAABHUA9asUB1fZLfmRuiYRipwee8_hXtTViqsVvAeVP-YbSTrYcf9j8T5sQ9w_aem_WBTaiAyZ7nNXjOjwpitP4A

Continue Readingขอแสดงความยินดีอาจารย์ที่ผลงานตีพิมพ์ใน TCI1

งานวิจัยและนวัตกรรม จัดโครงการ “การใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในการเขียนหนังสือและตำรา เพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ (ผศ. รศ. ศ.) ครั้งที่ 2 (4-10-67)

วันศุกร์ที่ 4 ต.ค. 67 เวลา 09.00-16.00 น. งานวิจัยและนวัตกรรม จัดโครงการ "การใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในการเขียนหนังสือและตำรา เพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ (ผศ.รศ.ศ.) ครั้งที่ 2" นำโดย อาจารย์วรวุฒิ มัธยันต์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เป็นประธานเปิดโครงการ โดยได้รับเกียรติจาก ศาสตราจารย์ญาณวิทย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและรองศาสตราจารย์ ดร.ประสาท เนืองเฉลิม จากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นวิทยากรผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านการเขียนหนังสือและตำรา ซึ่งในวันนี้ท่านวิทยากรตรวจการจัดวางโครงหนังสือ ตำรา ให้อาจารย์ ประมาณ 20 ผลงาน และมีการใช้เครื่องมือ AI หลายตัวเข้ามาช่วยในการเขียนตำราให้ง่ายขึ้น และการเทคนิควิธีเขียนเนื้อหา และการเขียนอ้างอิง สามารถดูวิดีโอย้อนหลังได้ที่…

Continue Readingงานวิจัยและนวัตกรรม จัดโครงการ “การใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในการเขียนหนังสือและตำรา เพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ (ผศ. รศ. ศ.) ครั้งที่ 2 (4-10-67)

งานวิจัยและนวัตกรรม จัดโครงการ “การใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในการเขียนหนังสือและตำรา เพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ (ผศ. รศ. ศ.) ครั้งที่ 2 (3-10-67)

วันพฤหัสบดีที่ 3 ต.ค. 67 เวลา 09.00-16.00 น. งานวิจัยและนวัตกรรม จัดโครงการ "การใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในการเขียนหนังสือและตำรา เพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ (ผศ. รศ. ศ.) ครั้งที่ 2" นำโดย อาจารย์วรวุฒิ มัธยันต์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เป็นประธานเปิดโครงการ โดยได้รับเกียรติจาก ศาสตราจารย์ญาณวิทย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและรองศาสตราจารย์ ดร.ประสาท เนืองเฉลิม จากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นวิทยากรผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านการเขียนหนังสือและตำรา ซึ่งมีการใช้เครื่องมือ AI หลายตัวเข้ามาช่วยในการเขียนตำราให้ง่ายขึ้น โดยมีอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการประมาณ 27 คน และได้ดำเนินการส่งชื่อหนังสือ ตำรา ในวันนี้ประมาณ 25…

Continue Readingงานวิจัยและนวัตกรรม จัดโครงการ “การใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในการเขียนหนังสือและตำรา เพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ (ผศ. รศ. ศ.) ครั้งที่ 2 (3-10-67)

ขอแสดงความยินดีอาจารย์ที่บทความวิจัยตีพิมพ์ใน TCI กลุ่ม 1

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ขอแสดงความยินดี กับ 1.ผศ.ดร.วิภาดา เถาธรรมพิทักษ์ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว 2.ผศ.ดร.สิปปวิชญ์ วงศ์สุวัฒน์ อาจารย์ประจำหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการประกันภัยและการจัดการความเสี่ยง 3.อาจารย์แสงนภา หิรัญมุทราภรณ์ อาจารย์ประจำหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัล 4.อาจารย์วิญญู วัฒนยนต์กิจ อาจารย์หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ที่ตีพิมพ์บทความวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเต็มใจในการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวชาวมุสลิมในแหล่งท่องเที่ยวที่ไม่ใช่เฉพาะชาวมุสลิมในเขตพื้นที่จังหวัดฝั่งอันดามัน เผยแพร่ใน วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม เล่มที่ 14 ฉบับที่ 2 เดือน พ.ค.-ก.ย. เลขหน้า 127-142 ที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1 ------------------------------------------------- ข้อมูลงานวิจัยสามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://so03.tci-thaijo.org/index.php/npuj/article/view/278511/184837

Continue Readingขอแสดงความยินดีอาจารย์ที่บทความวิจัยตีพิมพ์ใน TCI กลุ่ม 1

ขอแสดงความยินดีอาจารย์ที่บทความวิจัยตีพิมพ์ใน TCI กลุ่ม 1 และ ACI

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ขอแสดงความยินดี กับ ผศ.ดร.สิปปวิชญ์ วงศ์สุวัฒน์ อาจารย์ประจำหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการประกันภัยและการจัดการความเสี่ยง และ ผศ.ดร.วิภาดา เถาธรรมพิทักษ์ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ที่ตีพิมพ์บทความวิจัยเรื่อง The Moderating Effect ofJob Role and Mediating Effect of Burnout on the Influence of Perceived Job Risk on Hotel Workers’ Turnover Intention in Organizational Management in Thailand เผยแพร่ใน Journal…

Continue Readingขอแสดงความยินดีอาจารย์ที่บทความวิจัยตีพิมพ์ใน TCI กลุ่ม 1 และ ACI

ขอแสดงความยินดีอาจารย์ที่บทความวิจัยตีพิมพ์ใน TCI กลุ่ม 1

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ขอแสดงความยินดี กับ ผศ.ดร.วิสุทธิณี ธานีรัตน์ อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการรัฐกิจ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ที่ตีพิมพ์บทความวิจัยเรื่อง การบริการสาธารณะ : กรณีศึกษาทัศนคติของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานที่ว่าการอำเภอเมืองตรัง เผยแพร่ในวารสารสหวิทยาการมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ เล่มที่ 7 ฉบับที่ 4 เดือน ก.ค.-ส.ค. เลขหน้า 2193-2207 ที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1 ------------------------------------------------- ข้อมูลงานวิจัยสามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jmhs1_s/article/view/271217/184969

Continue Readingขอแสดงความยินดีอาจารย์ที่บทความวิจัยตีพิมพ์ใน TCI กลุ่ม 1

โครงการ “การใช้ปัญญาประดิษฐ์ ในการเขียนหนังสือและตำรา ครั้งที่ 2” วันที่ 3-4 ตุลาคม 67

เรียน คณาจารย์ทุกท่าน งานวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ขอเชิญเข้าร่วมโครงการ "การใช้ปัญญาประดิษฐ์ ในการเขียนหนังสือและตำรา ครั้งที่ 2" วันที่ 3-4 ตุลาคม 67 วิทยากร ศาสตราจารย์ญาณวิทย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และรองศาสตราจารย์ ดร.ประสาท เนืองเฉลิม จากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ลงทะเบียน >> https://forms.office.com/r/iwetS2zcz2 **กำหนดการ** วันพฤหัสบดีที่ 3 ตุลาคม 67 09.00 - 16.00 น. การใช้ AI ช่วยเขียน ตำรา หนังสือ วันศุกร์ 4 ตุลาคม…

Continue Readingโครงการ “การใช้ปัญญาประดิษฐ์ ในการเขียนหนังสือและตำรา ครั้งที่ 2” วันที่ 3-4 ตุลาคม 67